💜Windows 7💜
Windows 7 เป็นระบบปฎิบัติการ(Operating System)ของทาง Microsoft ที่ได้ทำการพัฒนาต่อเนื่องมากจาก Windows 98 , Me , 2000 , XP ,Vista จนมาถึงปัจจุบัน คือ Windows 7 นั้นเอง โดยกลุ่มเป้าหมายของ Windows 7 นี้ก็คือบุคคลทั่วไป ตามองค์กร ตามบ้าน ที่ใช้คอมพิวเตอร์ โดย Windows 7 จะเป็นระบบปฎิบัติการที่เอามาลงบน Hardware อีกทีึครับ โดย Windows 7 ได้เปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 22 ก.ค 2009 ครับโดยทาง Microsoft ได้ใช้ภาษา C , C++ ในการพัฒนา
Windows 7 นั้นได้ออกมาหลาย Edition เหลือเกิน ไม่ว่าจะเป็นตัว Windows 7 Starter, Window 7 Home Basic,Windows Home Premium,WIndow 7 Professional,Windows 7 Enterprise,Windows 7 Ultimate โดยของแตกต่างระหว่าง Editions ของ Windows 7 นั้นก็คือ การเพิ่ม Functions และลูกเล่นในการทำงานครับ ซึ่งถ้าเราจ่ายเงินเพิ่มมากยิ่งขึ้นเราก็จะได้ฟังก์ชั่นในการทำงานหรือลูกเล่นเพิ่มขึ้นนั้นเองครับ
👀Windows 7 OEM คืออะไร👀
โดย License จะมี 2แบบ คือ OEM ,Volume License
สิทธิการใช้งานประเภทติดตั้งมาจากโรงงาน (OEM License)
เป็นสิทธิการใช้ซึ่งจำหน่ายให้กับผู้ผลิตและผู้ประกอบคอมพิวเตอร์ สำหรับการติดตั้งไปพร้อมกับการจำหน่ายเครื่องคอมพิวเตอร์ ลูกค้าไม่สามารถขอซื้อสิทธิการใช้งานแบบ OEM แยกต่างหากได้
เป็นสิทธิการใช้ซึ่งจำหน่ายให้กับผู้ผลิตและผู้ประกอบคอมพิวเตอร์ สำหรับการติดตั้งไปพร้อมกับการจำหน่ายเครื่องคอมพิวเตอร์ ลูกค้าไม่สามารถขอซื้อสิทธิการใช้งานแบบ OEM แยกต่างหากได้
สิทธิการใช้งานประเภทติดตั้งมาจากโรงงาน (OEM)
– ซอฟต์แวร์แบบ OEM จะถูกติดตั้งมาพร้อมกับเครื่อง PC หรือเซิร์ฟเวอร์ที่จำหน่ายเท่านั้น
– ไม่สามารถย้ายซอฟต์แวร์ OEM จากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังเครื่องอื่นได้ แม้จะไม่มีการใช้คอมพิวเตอร์เครื่องเดิมแล้วก็ตาม แต่สิทธิในการใช้ของซอฟต์แวร์แบบ OEM อาจถูกกำหนดใหม่ หากมีการซื้อ Software Assurance เพิ่มเติมภายใน 90 วันหลังจากการซื้อสิทธิแบบ OEM
– ซอฟต์แวร์ถูกจำกัดการใช้ด้วย Product ID Key หรือผ่านการเปิดใช้ทางเว็บหรือทางโทรศัพท์
(โดยปกติจะถูกเปิดใช้งานล่วงหน้าโดยผู้จัดทำระบบ)
– สิทธิแบบ OEM อาจมี Software Assurance ที่ซื้อภายใต้โปรแกรม Volume Licensing
” สิทธิการใช้ระบบปฏิบัติการ Windows Desktop แบบเต็มจะจำหน่ายในรูปแบบ FPP หรือ OEM เท่านั้น โดยแบบ OEM จะมีราคาถูกกว่ามาก ส่วนโปรแกรม Volume License จะมีเฉพาะการอัพเกรดระบบปฏิบัติการ Windows Desktop เท่านั้น ซึ่งหมายความว่าผู้ใช้ต้องมีสิทธิแบบ OEM หรือ FPP ของ Windows อยู่ก่อนแล้ว จึงจะสามารถอัพเกรดได้
– ซอฟต์แวร์แบบ OEM จะถูกติดตั้งมาพร้อมกับเครื่อง PC หรือเซิร์ฟเวอร์ที่จำหน่ายเท่านั้น
– ไม่สามารถย้ายซอฟต์แวร์ OEM จากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังเครื่องอื่นได้ แม้จะไม่มีการใช้คอมพิวเตอร์เครื่องเดิมแล้วก็ตาม แต่สิทธิในการใช้ของซอฟต์แวร์แบบ OEM อาจถูกกำหนดใหม่ หากมีการซื้อ Software Assurance เพิ่มเติมภายใน 90 วันหลังจากการซื้อสิทธิแบบ OEM
– ซอฟต์แวร์ถูกจำกัดการใช้ด้วย Product ID Key หรือผ่านการเปิดใช้ทางเว็บหรือทางโทรศัพท์
(โดยปกติจะถูกเปิดใช้งานล่วงหน้าโดยผู้จัดทำระบบ)
– สิทธิแบบ OEM อาจมี Software Assurance ที่ซื้อภายใต้โปรแกรม Volume Licensing
” สิทธิการใช้ระบบปฏิบัติการ Windows Desktop แบบเต็มจะจำหน่ายในรูปแบบ FPP หรือ OEM เท่านั้น โดยแบบ OEM จะมีราคาถูกกว่ามาก ส่วนโปรแกรม Volume License จะมีเฉพาะการอัพเกรดระบบปฏิบัติการ Windows Desktop เท่านั้น ซึ่งหมายความว่าผู้ใช้ต้องมีสิทธิแบบ OEM หรือ FPP ของ Windows อยู่ก่อนแล้ว จึงจะสามารถอัพเกรดได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น